วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

บทอาขยาน

บทอาขยาน
 บทอาขยานคือ บทท่องจำ  การเล่า  การสวด  เรื่อง  นิทาน  ซึ่งเป็นการท่องจำข้อความหรือคำประพันธ์ที่ชอบ  บทร้องกรองที่ไพเราะ  โดยอาจตัดตอนมาจากหนังสือวรรณคดีเพื่อให้ผู้ท่องจำได้  และเห็นความงามของบทร้อยกรอง  ทั้งในด้านวรรณศิลป์  การใช้ภาษา  เนื้อหา  และวิธีการประพันธ์  สามารถนำไปใช้เป็นแบบอย่างในการแต่งบทร้อยกรอง  หรือนำไปใช้เป็นข้อมูล ในการอ้างอิงในการพูดและการเขียนได้เป็นอย่างดี อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บทอาขยาน

มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก

มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
  เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย  ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม  และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคำหลวงในวันธรรมสวนะ  ส่วนการเทศน์มหาชาติเป็นประเพณีที่สำคัญในทุกท้องถิ่นและมีความเชื่อกันว่า อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก

มงคลสูตรคำฉันท์

มงคลสูตรคำฉันท์
      พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๖ แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปีที่ครองราชย์ (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) ทรงประกอบพระราชกรณียกิจเป็นอเนกประการ ทรงพระปรีชาสามารถทั้งด้านการทหาร การปกครอง การต่างประเทศ และโดยเฉพาะด้านอักษรศาสตร์ พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์งานประพันธ์หลายประเภท เช่น บทละคร บทความ สารคดี นิทาน อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ มงคลสูตรคำฉันท์

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นพระราชธิดา ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

หัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่ม
เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้พระนามแฝงว่า รามจิตติ เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อพ.ศ.2464ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็น
รูปแบบของจดหมาย มีจำนวน 18 ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด
1 ปี 7 เดือน  อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หัวใจชายหนุ่ม

นิราศนรินทร์คำโคลง

นิราศนรินทร์คำโคลง
ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ) มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า ซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลที่ 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352) นิราศเรื่องนี้ผู้แต่งไม่ได้ระบุชื่อเอาไว้ แต่เรียกกันโดยทั่วไปตามชื่อผู้แต่ง ว่า “นิราศนรินทร์” อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิราศนรินทร์คำโคลง

นิทานเวตาล เรื่องที่ 10

นิทานเวตาล เรื่องที่ 10
    เวตาลกล่าวว่าครั้งนี้ข้าพเจ้าให้เกิดเขม่นตาซ้าย หัวใจเต้นแรงแลตาก็มืดมัว เป็นลางไม่ดีเสียแล้ว แต่ข้าพเจ้าก็จะเล่าเรื่องจริงถวายอีกเรื่องหนึ่ง แลเพราะเหตุข้าพเจ้าเบื่อหน่ายการถูกแบกสะพายไปมาเป็นหลายเที่ยวแล้ว แม้พระองค์ไม่ทรงเบื่อเป็นผู้แบกก็จริง อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิทานเวตาล เรื่องที่ 10